วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556

Port Input

    

                       



    การใช้งานพอร์ตเป็นการอินพุตข้อมูลจะต้องเริ่มด้วยการส่งข้อมูลที่มีค่าเป็น 1 ออกมาทางบิตของพอร์ต นั้น    ก่อนเป็นลำดับแรก เพื่อหยุดการทำงานของทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าที่ขับสัญญาณเอาต์พุตของบิตนั้น ทำให้ขาสัญญาณของบิตถูกต่อเข้ากับตัวต้านทานซึ่งทำหน้าที่ Pull-up ภายในซึ่งมีผลให้บิตนั้นๆของพอร์ต 1,2 และ 3 เป็น สภาวะของลอจิกสูง ตัวต้านทานนี้มีค่าประมาณ 50 K โอห์ม ซึ่งเป็นค่าที่สูงมาก และทำให้อุปกรณ์ภายนอกสามารถขับสัญญาณของพอร์ตเหล่านี้เป็นลอจิกต่ำได้ง่าย สำหรับบิตของพอร์ต 0 นั้น แม้ว่าจะมีหลักการทำงานที่คล้ายคลึงกัน กับบิตของพอร์ตอื่นๆ แต่เนื่องจากการที่ไม่มีตัวต้านทานทำหน้าที่ Pull-up ภายในไว้ ทำให้เมื่อทรานซิสเตอร์ที่ทำหน้าที่ ขับสัญญาณเอาต์พุตนั้นหยุดการทำงาน ก็จะเป็นผลให้ขาสัญญาณนี้อยู่ในสภาวะอิมพีแดนซ์สูงแทน 

ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?hl=th&q=port+input+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD&bav=on.2,or.r_qf.&biw=1366&bih=667&bvm=pv.xjs.s.en_US.jkEW54nYU50.O&um=1&ie=UTF-8&tbm=isch&source=og&sa=N&tab=wi&ei=5poqUtOJJ8XZrQeV2oGoDw#facrc=_&imgdii=_&imgrc=-frUVUcaqzzAiM%3A%3B9BHhHFy__Aa0tM%3Bhttp%253A%252F%252Fkhrutik.files.wordpress.com%252F2012%252F12%252Fimage015.png%253Fw%253D500%2526h%253D229%3Bhttp%253A%252F%252Fkhrutik.wordpress.com%252Ftag%252Fbricx-command-center%252F%3B500%3B230

ที่มาของเนื้อหาhttp://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/micro/mcs51/8051_5.html

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น