วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556
All about me :)
นางสาวจีรนันท์ หาญกิจ
หมู่เรียน 56/16 รหัสนักศึกษา 564145111
โปรแกรมวิชา คอมพิวเตอร์ศึกษา (คบ.5 ปี)
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556
วันศุกร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556
ชนิดหน่วยความาจำสำรอง แบบต่างๆ
1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย | ||
ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทำหน้าที่เก็บข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ ทั้งโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมทั้งเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย |
ฟล็อบปี้ดิสก์ (Floppy Disk) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลที่มีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะเป็นแผ่นกลมบางทำจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจุข้อมูลได้เพียง 1.44 เมกะไบต์ เท่านั้น ี | ||||||
|
ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นสื่อที่มีขนาดความจุสูง เหมาะสำหรับบันทึกข้อมูลแบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทำมาจากแผ่นพลาสติกกลมบางที่เคลือบด้วยสารโพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทำให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี-อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อาร์ดับบลิว (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดีวีดี (Digital Video Disk - DVD)
รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟมีตั้งแต่ 2, 4 , 8 , 16 , 32 กิกะไบต์ ทั้งนี้ยังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในชื่ออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive
ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นสื่อบันทึกข้อมูลที่จะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิ สก์จะเก็บข้อมูลได้มากกว่าฟล็อปปี้ดิสก์ | ||
Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซึ่งมีขนาดพอๆ กับฟล็อบปี้ดิสก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทึกขัอมูลได้ตั้งแต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดับ 5.2 กิกะไบต์ | ||||||||||||||||||
|
หน่วยความาจำสำรอง
หน่วยความจำรอง ( Secondary Storage ) หมายถึง หน่วยที่ใช้สำหรับเก็บบันทึก (Save) คำสั่งและข้อมูลเอาไว้อย่างถาวรเพื่อใช้งานในอนาคต หรือเพื่อนำส่งและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับผู้อื่น โดยที่สามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เก็บได้ตลอดเวลา ฮาร์ดแวร์ทีทำหน้าที่ในหน่วยความจำสำรองที่ใช้ในปัจจุบันมีหลายประเภท เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสเกตต์ แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี และยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีคุณสมบัติและข้อดีข้อเสียในการเก็บข้อมูลต่างกัน
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type1/tech03/16/CD2.html
Port HDM
HDMI เป็นระบบการเชื่อมต่อภาพและเสียงแบบใหม่คะ ย่อมาจากคำว่า (H)igh (D)efinition (M)ultimedia (I)nterface โดย HDMI จะเชื่อมต่อทั้งสัญญาณภาพและเสียงระบบดิจิตอลแบบไม่มีการบีบอัดข้อมูลไว้ในสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ให้ความคมชัดของภาพ มีความละเอียด มีความคมลึกและให้เสียงที่สมบูรณ์แบบที่สุดเท่าที่เคยมีมา ขั้วต่อของ HDMI to HDMI จะผลิตจากทองแท้ 24 K ด้วยนะคะ ทุกวันนี้ HDMI ถูกนำมาใช้กับอุปกรณ์ Home Theatre หลายอย่างเช่น พลาสม่าทีวี แอลซีดีทีวี เครื่องเล่นดีวีดี ฯลฯ
ที่มาของเนื้อหาhttp://guru.google.co.th/guru/thread?tid=5c7e91d5d01614a2
ที่มาของรปภาพhttps://www.google.co.th/search?q=Port+HDMI&hl=th&tbm=isch&tbo=u&source=univ&sa=X&ei=WKkqUtSSGcKQrQeK14GgDw&ved=0CDIQsAQ&biw=1366&bih=667#facrc=_&imgdii=_&imgrc=JY6OEAVqeUbWsM%3A%3BFr7OdGVTBEK42M%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.free.fr%252Fassistance%252Fim%252Ffaq%252Fcru20%252Fphotos%252FVignette%252FvBoitierHD_TV%252FvHDMI1.jpg%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.free.fr%252Fassistance%252F628.html%3B310%3B254
Serial Port
Serial port เป็นส่วนที่ใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์ เช่น modem mouse keyboard เป็นต้น โดยรูปแบบการสื่อสารของพอร์ทชนิดนี้นั้นจะเป็นการส่งข้อมูลแบบทีละบิต บนมาตรฐานการส่งข้อมูลแบบ RS-232 ซึ่งจะต่างจาก parallel port (ที่จะมีการส่งข้อมูลพร้อมๆ กันทีละหลายๆ บิต) โดยความเร็วของการส่งข้อมูลแบบนี้ จะขึ้นอยู่กับความถี่ที่เลือกใช้ในการส่งข้อมูล
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://jaserialport01.blogspot.com/
VGA Port
พอร์ตนี้สำหรับต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับมอนิเตอร์ เป็นพอร์ตขนาด 15 พิน ในคอมพิวเตอร์บางเครื่องอาจจะติดตั้งการ์ดสำหรับถอดรหัสสัญญาณ MPEG เพิ่มเข้ามาซึ่งลักษณะของพอร์ตนั้นจะคล้าย ๆ กันแต่การ์ด MPEG จะมีพอร์ตอยู่สองชุดด้วยกันสำหรับเชื่อมไปยังการ์ดแสดงผลหนึ่งพอร์ต และต่อเข้ากับมอนิเตอร์อีกหนึ่งพอร์ต ดังนั้นเครื่องใครที่มีพอร์ตแบบนี้ ก็ควรจะบันทึกไว้ด้วย เพราะไม่งั้นอาจจะใส่สลับกัน จะทำให้โปรแกรมบางตัวทำงานไม่ได้
ที่มาของเนื้อหา http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=2b57710d49248852
ที่มาของรูปภาพhttps://www.google.co.th/search?hl=th&q=VGA+Port+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD&bav=on.2,or.r_qf.&bvm=pv.xjs.s.en_US.jkEW54nYU50.O&um=1&ie=UTF-8&tbm=isch&source=og&sa=N&tab=wi&ei=-qcqUrm_C8SFrAfAyoDQDw&biw=1366&bih=667&sei=-6cqUoKqJMPSrQfZ1YGwDw#facrc=_&imgdii=_&imgrc=ZqQpJprriK9cxM%3A%3BVvLSOt5gucXibM%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.digital2home.com%252Fuploads%252F2009%252F08%252Fvga.gif%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.digital2home.com%252Ftips%252F2009%252Finside-notebook-ep2%252F%3B641%3B306
Port Fire Wire
เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่ออุปกรณ์ภายนอกความเร็วสูง และยังเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่มของอุปกรณ์ที่ต้องการอัตราการส่งผ่าน ข้อมูลสูงๆ เช่น การ์ดตัดต่อวิดีโอหรืออุปกรณ์แบ็กอัพข้อมูลขนาดใหญ่ IEEE 1394 นั้นถูกออกแบบให้เป็นบัสอนุกรมประสิทธิภาพสูง มีลักษณะการทำงานในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ ที่จะใช้การต่อเชื่อมเป็นแบบอนุกรม ซึ่งถูกพัฒนาให้มีการส่งผ่านข้อมูลสูงถึง 800 Mbps โดยเรียกกันว่า IEEE 1394 , Fire Wire หรือ I-link ซึ่งเป็นชนิดเดียวกัน
Fire Wire นั้นเป็นชื่อที่จดทะเบียนทางการค้าของ Apple Computer Inc. ส่วน i-link เป็นชื่อที่จดทะเบียนทางการค้าของ Sony Corporation และสุดท้าย IEEE-1394a (Fire Wire400) และ IEEE-1394b (Fire Wire800) เป็นมาตรฐานการเชื่อมต่อของกลุ่ม IEEE ซึ่งเป็นมาตรฐานของการรับ-ส่งข้อมูลขนาดใหญ่ และความเร็วสูง ระหว่างอุปกรณ์ต่างๆ
การเชื่อมต่ออีกรูปแบบที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาภายหลังและมีการนำเอามาเปรียบ เทียบกันมากก็คือ มาตรฐาน USB 2.0 ซึ่งได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ แต่จะอยู่ในกลุ่มของอุปกรณ์ต่อพ่วงอย่าง เมาส์, พรินเตอร์ หรือ สแกนเนอร์ โดยจำกัดอยู่ในกลุ่มที่เคยใช้การเชื่อมต่อแบบ USB 1.1 เพราะว่า USB 2.0 ถึงแม้จะมีความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลสูงสุดอยู่ที่ 480Mbps (Fire Wire อยู่ที่ 400Mbps) แต่เมื่อใช้งานจริง Fire Wire กลับมีความเร็วเหนือกว่า เพราะว่าโปรแกรมต่างๆ ในปัจจุบัน สามารถดึงเอาประสิทธิภาพการทำงานของ Fire Wire ออกมาได้มากกว่า (แอพพลิเคชันสำหรับการตัดต่อจากกล้องวิดีโอส่วนใหญ่จะถูกออกแบบมาให้ทำงาน ร่วมกับ Fire Wire มากกว่า) และยังมีข้อเปรียบเทียบอีกอย่างก็คือ USB สามารถใช้งานได้ 1 อุปกรณ์ต่อ 1 พอร์ต USB เท่านั้น (ไม่รวมกรณีที่ใช้ USB hub) ดังนั้นคอมพิวเตอร์รุ่นใหม่จึงมีพอร์ต USB ติดมากับเครื่องเยอะ (อย่างต่ำๆ ก็ 4 พอร์ต) ส่วนการใช้ USB hub ถึงแม้ว่าจะสามารถเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลายตัวแต่ก็จะทำให้ความเร็วในการใช้ งานลดลง แต่สำหรับ Fire Wire นั้น เนื่องจากใช้พื้นฐานการเชื่อมต่อแบบ Serial (อนุกรม) ทำให้สามารถต่ออุปกรณ์หลายๆ ตัวเรียงกันเป็นลูกโซ่ได้ ซึ่งทำให้สามารถใช้พอร์ต Fire Wire พอร์ตเดียวเชื่อมต่ออุปกรณ์ได้หลายชนิด แต่ข้อเสียก็คือผู้ใช้จะต้อง อินเทอร์รัปต์ อุปกรณ์ทุกตัวที่ทำการเชื่อมต่อเสียก่อนจึงทำการถอดอุปกรณ์ตัวนั้นๆ ออกได้
ในปัจจุบัน Fire Wire ได้รับความนิยมจากผู้ผลิตอุปกรณ์ประเภทตัดต่อ แต่ก็เห็นได้ว่าคลื่นลูกหลังอย่าง USB 2.0 ก็ได้รับความนิยมมากเช่นกัน ซึ่งทำให้กลุ่มผู้พัฒนามาตรฐาน
Fire Wire ได้เปิดตัวมาตรฐาน IEEE 1394b ตัวใหม่ที่สามารถรองรับความเร็วการส่งผ่านข้อมูลได้สูงถึง 800Mbps (S800) และ 1600Mbps (S1600)
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://www.overclockzone.com/forums/showthread.php/784838-Firewire-port-%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3
Port Digital Audio
การติดต่อการแสดงผลแบบดิจิตอลที่พัฒนาขึ้นโดยสมาคมมาตรฐานอิเล็กทรอนิกส์วิดีโอ (VESA) อินเตอร์เฟซที่ใช้งานเป็นหลักในการเชื่อมต่อแหล่งวิดีโอไปยังอุปกรณ์แสดงผลเช่นจอคอมพิวเตอร์แม้ว่ามันจะยังสามารถใช้ในการส่งสัญญาณเสียง, USB, และรูปแบบอื่น ๆ ของข้อมูล
ข้อกำหนด VESA เป็นค่าภาคหลวงฟรี VESA มันออกแบบมาเพื่อแทนที่ VGA, DVI และ FPD-Link ความเข้ากันได้ย้อนหลังกับ VGA และ DVI โดยใช้อะแดปเตอร์ที่ใช้งาน dongles ช่วยให้ผู้ใช้สามารถใช้แหล่งวิดีโอโดยไม่ต้องติดตั้ง DisplayPort เปลี่ยนอุปกรณ์แสดงผลที่มีอยู่
รุ่นแรก, 1.0 ได้รับการอนุมัติโดย VESA เมื่อ 3 พฤษภาคม 2006. เวอร์ชั่น 1.1a ได้รับการอนุมัติเมื่อ 2 เมษายน 2007 ตามมาตรฐานปัจจุบัน 1.2 เมื่อ 22 ธันวาคม 2009.
ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?
ที่มาของเนื้อหา http://en.wikipedia.org/wiki/DisplayPort
Port Digital Video
พอร์ตที่เรียกว่าเป็นอาร์ซีเอหรือพอร์ตวิดีโอส่วนที่มีร่วมกันในระดับ high-end กล้องวิดีโอดิจิตอล พวกเขาใช้ชุดของสามหลุมสีสำหรับติดสายสามง่าม (หรือชุดของสายเดียวง่าม) พอร์ต A / V ที่ใช้พอร์ตสีแดงและสีขาวสำหรับทั้งสองช่องทางของเสียงและพอร์ตสีเหลืองที่สามสำหรับวิดีโอ กล้องบางรวมทั้งยังมี S-วิดีโอหรือ HDMI พอร์ตวิดีโอสำหรับการเชื่อมต่อโดยตรงไปยังดาดฟ้าโทรทัศน์หรือวิดีโอ
ที่มาของรูปภาพhttp://news.siamphone.com/news-13585.html
Port Digital Camera
กล้องดิจิตอลที่สามารถจับภาพและวิดีโอที่มีคุณภาพสูงมากและนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อลดความไม่สมบูรณ์โดยอัตโนมัติและปรับองค์ประกอบแสงเพื่อผลิตภาพที่ดีที่สุด รับไฟล์ลงในหน้าจอคอมพิวเตอร์หรือวิดีโอสำหรับการแก้ไขหรือการจัดนิทรรศการอาศัยกล้องเชื่อมต่อพอร์ตที่ใช้หนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งสายมาตรฐานในการส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ที่
ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?
Port Keyboard
พอร์ตแป้นพิมพ์ควรจะได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในวิธีการที่ดีที่สุดในช่วงต้นของการเชื่อมต่อการควบคุมของคุณเที่ยวบินรองดาดฟ้าซอฟแวร์ซิมของคุณ หลังจากที่เกมพอร์ตหรือพอร์ต USB ขึ้นอยู่กับชนิดของเที่ยวบินหลักของการควบคุมที่คุณใช้พอร์ตแป้นพิมพ์มีความยืดหยุ่นมากที่สุดในการควบคุมการทำงานของซิมของคุณ
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ: http://www.mikesflightdeck.com/interfacing/keyboard_port.html
Port Mouse
เป็นพอร์ต์ที่ใช้สำหรับต่อสายเม้าส์กับสายคีย์บอร์ดเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเรียกว่าพีเอสทูเม้าส์หรือพีเอสทูคีย์บอร์ด ซึ่งพอร์ตจะมีรูกลมหกรู แล้วก็รูสี่เหลี่ยมหนึ่งรู ซึ่งปลายสายคีย์บอร์ดหรือเม้าส์ก็จะมีเข็มที่ตรงกับตำแหน่งของรูที่พอร์ตด้วย การเสียบสายเม้าส์และคีย์บอร์ดเข้าไป ต้องระวังให้เข็มตรงกับรู สำหรับพอร์ตเม้าส์และคีย์บอร์ดนั้นจะใช้Color Key แสดงเอาไว้ สีเขียวคือต่อสายเม้าส์ ส่วนสีน้ำเงินต่อสายคีย์บอร์ด นอกจากนี้ยังมีจุดสังเกตุอีกประการหนึ่งก็คือ เมื่อประกอบเมนบอร์ดเข้ากับเคส ที่เคสจะมีสัญลักษณ์รูปเม้าส์กับรูปคีย์บอร์ด ติดอยู่ เพื่อให้ต่อสายเม้าส์และคีย์บอร์ดได้ถูกต้อง
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://xn--l3cjd0am3d7g6d.blogspot.com/2010/05/ps2-mouse-ps2-keyboard-port.html
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://xn--l3cjd0am3d7g6d.blogspot.com/2010/05/ps2-mouse-ps2-keyboard-port.html
Port Scanner
เป็นหนึ่งในเทคนิคที่โด่งดังที่สุดที่ผู้โจมตีใช้ในการค้นหาบริการที่พวกเขาจะสามารถเจาะผ่านเข้าไปยังระบบได้ โดยปกติแล้วทุก ๆ ระบบที่ต่อเข้าสู่ระบบ LAN หรือระบบอินเทอร์เน็ตจะเปิดบริการทั้งที่อยู่บนพอร์ตที่เป็นที่รู้จักและที่ไม่เป็นที่รู้จัก สำหรับการทำ Port Scanning นั้น ผู้โจมตีจะสามารถค้นหาข้อมูลได้มากมายจากระบบของเป้าหมาย ได้แก่ บริการอะไรบ้างที่กำลังรันอยู่ ผู้ใช้คนไหนเป็นเจ้าของบริการเหล่านั้น สนับสนุนการล็อกอินด้วย anonymous หรือไม่ และบริการด้านเครือข่ายมีการทำ authentication หรือไม่ การทำ Port Scanning ทำได้โดยการส่งข้อความหนึ่งไปยังแต่ละพอร์ต ณ เวลาหนึ่ง ๆ ผลลัพธ์ที่ตอบสนองออกมาจะแสดงให้เห็นว่าพอร์ตนั้น ๆ ถูกใช้อยู่หรือไม ่และสามารถทดสอบดูเพื่อหาจุดอ่อนต่อไปได้หรือไม่ Port Scanners มีความสำคัญต่อผู้ชำนาญด้านความปลอดภัยของเครือข่ายมากเพราะว่ามันสามารถเปิดเผยจุดอ่อนด้านความปลอดภัยที่มีความเป็นไปได้ของระบบเป้าหมาย
ถึงแม้ว่า Port Scans สามารถเกิดขึ้นกับระบบของคุณ แต่ก็สามารถตรวจจับได้และก็สามารถใช้เครื่องมือที่เหมาะสมมาจำกัดจำนวนของข้อมูลเกี่ยวกับบริการที่เปิดได้ ทุกๆระบบที่เปิด สู่สาธารณะจะมีพอร์ตหลายพอร์ตที่เปิดและพร้อมให้ใช้งานได้ โดยมีการจำกัดจำนวนพอร์ตที่จะเปิดให้แก่ผู้ใช้ที่ได้รับอนุญาตและปฏิเสธการเข้าถึงมายังพอร์ตที่ปิด
ที่มาของเนื้อหา http://www.compspot.net/index.php?ption=com_content&task=view&id=329&Itemid=46
ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?hl=th&q=port+scanner+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD&bav=on.2,or.r_qf.&biw=1366&bih=667&bvm=pv.xjs.s.en_US.jkEW54nYU50.O&um=1&ie=UTF-8&tbm=isch&source=og&sa=N&tab=wi&ei=mZ0qUtDEDsKLrQfTu4DIDw#facrc=_&imgdii=_&imgrc=tPtptdIsfHxyHM%3A%3Bai04BSLmHm5voM%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.bloggang.com%252Fdata%252Ft%252Fthirawat%252Fpicture%252F1345019237.jpg%3Bhttp%253A%252F%252Fwww.bloggang.com%252Fmainblog.php%253Fid%253Dthirawat%2526month%253D15-08-2012%2526group%253D3%2526gblog%253D15%3B250%3B250
วิวัฒนาการ Port USB
USB ย่อมาจาก Universal Serial Bus ถูกวางโดยบริษัทยักษ์ใหญ่ ผู้นำทางด้านอุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็คทรอนิคส์ และคอมพิวเตอร์ ช่วยกันวางมาตรฐาน โดยในยุคเริ่มแรกนั้น ก็มี COMPAQ, IBM, DEC, Intel, Microsoft, NEC และ Northern Telecom มาตรฐานของ USB นั้น ออกสู่สาธารณะชนเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ปี พ.ศ.2537 ด้วย Revision 0.7 และได้ปรับปรุงแก้ไขเรื่อยมา จนกระทั่ง เมื่อ วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2539 ออกมาเป็น Revision 1.0 (USB1.0)ได้สำเร็จและยังได้ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ จนเมื่อวันที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2541 ได้เป็น Revision 1.1 (USB 1.1)
แต่ความเร็วของ USB ในขณะนั้น ยังไม่เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้นทางกลุ่มผู้พัฒนา หรือ USB-IF (USB Implementers Forum, Inc.) ได้ร่างมาตรฐาน USB รุ่นใหม่ และได้ข้อสรุป เป็นมาตรฐานที่แน่นอน คือ USB 2.0 ในเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2543 สำหรับความเร็วในการ รับ-ส่ง ข้อมูลนั้น USB1.1 จะมีความเร็วอยู่ที่ 12 Mbps ส่วน USB 2.0 นั้น รองรับระดับการรับส่งข้อมูลได้ถึง 3 ระดับ คือ
- ความเร็ว 1.5 Mbps (Low Speed) สำหรับการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ไม่จำเป็นต้องส่งข้อมูลคราวละมากๆ
- ความเร็ว 12 Mbps (Full Speed) สำหรับการเชื่อมต่อกับ USB 1.1
- ความเร็ว 480 Mbps (Hi-Speed) สำหรับการเชื่อมต่อUSB 2.0 ด้วยกัน
Port Output
เมื่อ
มอง
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/micro/mcs51/8051_5.html
Port Input
การ
ที่มาของรูปภาพ https://www.google.co.th/search?hl=th&q=port+input+%E0%B8%84%E0%B8%B7%E0%B8%AD&bav=on.2,or.r_qf.&biw=1366&bih=667&bvm=pv.xjs.s.en_US.jkEW54nYU50.O&um=1&ie=UTF-8&tbm=isch&source=og&sa=N&tab=wi&ei=5poqUtOJJ8XZrQeV2oGoDw#facrc=_&imgdii=_&imgrc=-frUVUcaqzzAiM%3A%3B9BHhHFy__Aa0tM%3Bhttp%253A%252F%252Fkhrutik.files.wordpress.com%252F2012%252F12%252Fimage015.png%253Fw%253D500%2526h%253D229%3Bhttp%253A%252F%252Fkhrutik.wordpress.com%252Ftag%252Fbricx-command-center%252F%3B500%3B230
ที่มาของเนื้อหาhttp://www.cpe.ku.ac.th/~yuen/204471/micro/mcs51/8051_5.html
Control Port
Control Port
ระบบควบคุมขนาดเล็กซึ่งเทียบได้กับระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งชุด กล่าวคือ ไมโครคอนโทรลเลอร์ได้รวบรวม ระบบประมวลผลCPU (Central Processing Unit) หน่วยความจำ (Memory) และ พอร์ต (I/O Port) ไว้ในโมดูล เดียวกัน ซึ่งแตกต่างจากไมโครเซสเซอร์ตรงที่ ไมโครโปรเซสเซอร์จะต้องต่ออุปกรณ์ หน่วยความจำและพอร์ตอินเตอร์เฟสข้างนอก เนื่องจากไมโครคอนโทรลเลอร์มีขนาดเล็ก มียืดหยุ่น และความสามารถสูง จึงนิยมฝังไว้ในอุปกรณ์ทางไฟฟ้าหรือ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อควบคุมการทำงานของอุปกรณ์นั้น เช่น ทีวี เครื่องซักผ้า มือถือ รีโมท กล่อง ECU รถยนต์ เครื่องบิน หรือ แม้กระทั่ง บางส่วนของยานอวกาศ
ที่มาของเนื้อหา http://mis.csit.sci.tsu.ac.th/grit/grit02.html
วันพฤหัสบดีที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2556
โครงสร้าง Port
โครงสร้างของพอร์ต
รูป 1 แสดงโครงสร้างภายในของพอร์ต
1.1 การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ให้เป็นพอร์ตอินพุต (INPUT PORT)
การกำหนดให้พอร์ตหรือบิตใดๆ ของไมโครคอนโทรลเลอร์เป็นพอร์ตอินพุต หรือส่วนในการรับค่าของข้อมูลเข้ามาดังแสดงในรูป 5.2 จะเริ่มต้นด้วยการเขียนข้อมูลให้กับพอร์ตหรือบิตนั้นๆ เป็นสถานะลอจิก "1" แล้วจึงส่งไปแต่ละบิตของพอร์ตที่ต้องการใช้งาน เพื่อให้เป็นพอร์ตอินพุต เช่นใช้คำสั่ง MOV P3, #0FFH หรือคำสั่ง SETB P1.5 จะทำให้วงจรส่วนของการคงสภาวะข้อมูล หรือวงจรแลตซ์(Latch)* ซึ่งสร้างมาจากวงจร ดี ฟลิป-ฟลอป (D flip-flop) จะให้เอาต์พุต Q มีสถานะลอจิกเป็น "1" แล้วจะผ่านไปที่วงจรกลับสัญญาณ (Inverter) เพื่อให้หยุดการทำงานของเฟต (FET)* ซึ่งจะทำให้ขาสัญญาณของพอร์ตถูกเชื่อมต่อเข้ากับวงจรพูลอัป * ที่เป็นตัวต้านทานภายใน (Internal Pull up) โดยตรง ส่งผลให้ขาพอร์ตนั้นมีสถานะลอจิกเป็น "1" และสามารถจะรับสัญญาณที่เป็นลอจิก "0" จากอุปกรณ์ภายนอกได้ ข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอกที่ต่ออยู่ก็จะถูกส่งเข้ามาเก็บไว้ในวงจรบัฟเฟอร์ภายในพอร์ต เพื่อรอให้ซีพียูมาทำการอ่านค่าเข้าไป ดังนั้นอุปกรณ์ภายนอกที่เราจะนำมาเชื่อมต่อกับพอร์ตอินพุต จึงนิยมกำหนดให้ทำงานในสภาวะลอจิก "0"
รูป 2 แสดงการกำหนดเป็นพอร์ตอินพุตโดยให้สถานะเป็น "1" ตำแหน่งบิตที่ต้องการ
1.2 การอ่านค่าลอจิกจากพอร์ต
การอ่านค่าลอจิกจากพอร์ตทำได้ 2 ลักษณะด้วยกันคือ การอ่านค่าจากขาพอร์ตโดยตรง (Read Pin) และ การอ่านค่าจากวงจรแลตซ์ของแต่ละพอร์ต (Read Latch) ในกรณีที่พอร์ตต่อกับขาเบสของทรานซิสเตอร์ * ชนิด NPN ให้เป็นทรานซิสเตอร์สวิตซ์ และที่ขาอิมิตเตอร์ของทรานซิสเตอร์ต่อลงกราวด์ (ดูรูป 5.3 ประกอบ) ถ้าหากมีการส่งข้อมูลให้เป็นลอจิก "1" ไปยังทรานซิสเตอร์ จะทำให้ทรานซิสเตอร์ทำงาน (นำกระแส) ส่งผลให้สถานะลอจิกที่ขาพอร์ตเป็นลอจิก "0" ด้วยเหตุผล เมื่อทรานซิสเตอร์นำกระแส จะเสมือนว่าขาพอร์ตนั้นถูกต่อลงกราวด์ ( VBE=0.6 V * ) ดังนั้นถ้าหากอ่านค่าลอจิกที่ขาพอร์ตโดยตรง (Read Pin) จะได้ผลตรงกันข้ามกับค่าลอจิกที่ส่งออกมา แต่ถ้าหากทำการอ่านค่าลอจิกที่วงจรแลตซ์ (Read Latch) จะได้สถานะลอจิกตรงกับค่าที่ส่งออกพอร์ตจริง ด้วยเหตุผลนี้ในการอ่านค่าลอจิกจากพอร์ตจึงต้องเลือกวิธีการให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่นำมาต่อด้วย
การอ่านค่าลอจิกจากพอร์ตทำได้ 2 ลักษณะด้วยกันคือ การอ่านค่าจากขาพอร์ตโดยตรง (Read Pin) และ การอ่านค่าจากวงจรแลตซ์ของแต่ละพอร์ต (Read Latch) ในกรณีที่พอร์ตต่อกับขาเบสของทรานซิสเตอร์ * ชนิด NPN ให้เป็นทรานซิสเตอร์สวิตซ์ และที่ขาอิมิตเตอร์ของทรานซิสเตอร์ต่อลงกราวด์ (ดูรูป 5.3 ประกอบ) ถ้าหากมีการส่งข้อมูลให้เป็นลอจิก "1" ไปยังทรานซิสเตอร์ จะทำให้ทรานซิสเตอร์ทำงาน (นำกระแส) ส่งผลให้สถานะลอจิกที่ขาพอร์ตเป็นลอจิก "0" ด้วยเหตุผล เมื่อทรานซิสเตอร์นำกระแส จะเสมือนว่าขาพอร์ตนั้นถูกต่อลงกราวด์ ( VBE=0.6 V * ) ดังนั้นถ้าหากอ่านค่าลอจิกที่ขาพอร์ตโดยตรง (Read Pin) จะได้ผลตรงกันข้ามกับค่าลอจิกที่ส่งออกมา แต่ถ้าหากทำการอ่านค่าลอจิกที่วงจรแลตซ์ (Read Latch) จะได้สถานะลอจิกตรงกับค่าที่ส่งออกพอร์ตจริง ด้วยเหตุผลนี้ในการอ่านค่าลอจิกจากพอร์ตจึงต้องเลือกวิธีการให้เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่นำมาต่อด้วย
รูป 3 แสดงสถานะของทรานซิสเตอร์ชนิด NPN เมื่อนำมาต่อเป็นทรานซิสเตอร์สวิตซ์
1.3 การใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ให้เป็นพอร์ตเอาต์พุต(OUTPUT PORT)
การกำหนดให้มีลักษณะเป็นพอร์ตเอาต์พุต เราสามารถจะส่งข้อมูลที่เป็นลอจิกที่ต้องการออกไปได้โดยตรง เช่นถ้าเราต้องการส่งข้อมูลที่เป็นสถานะลอจิก "0" ออกไปทางพอร์ต P1 ทั้ง 8 บิต ก็สามารถที่จะเขียนโดยใช้คำสั่ง MOV P1,#00H จะทำให้เอาต์พุตของวงจรแลตซ์เป็นสถานะลอจิก "0" ซึ่งจะส่งต่อไปให้กับวงจรกลับสัญญาณทำให้มีสถานะลอจิกเป็น "1" แล้วจึงส่งต่อไปขับเฟต(FET) ให้ทำงาน ส่งผลให้ตำแหน่งของพอร์ตที่กำหนดให้ทำงานจะเป็นสถานะลอจิก "0" ในทำนองเดียวกันถ้าหากเราต้องการจะส่งข้อมูลลอจิก "1" ออกไป ก็สามารถเขียนข้อมูล "1" ไปยังวงจรแลตซ์ วงจรขับก็จะหยุดการทำงานเป็นผลทำให้ที่ขาของพอร์ตเชื่อมต่อกับวงจรพูลอัปภายในเกิดเป็นสถานะลอจิก "1" ที่ขาพอร์ตนั้น ซึ่งจะคล้ายกับการกำหนดให้เป็นขาอินพุต เพียงแต่แตกต่างกันที่กระบวนการในการเคลื่อนย้ายข้อมูล โดยถ้าเป็นอินพุต จะมีสัญญาณมาอ่านข้อมูลที่บัฟเฟอร์ แต่ถ้าเป็นเอาต์พุตจะไม่มีการอ่านข้อมูลที่บัฟเฟอร์แต่อย่างใด เว้นแต่ในกรณีที่ต้องการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งออกมาทางเอาต์พุตเท่านั้น
การกำหนดให้มีลักษณะเป็นพอร์ตเอาต์พุต เราสามารถจะส่งข้อมูลที่เป็นลอจิกที่ต้องการออกไปได้โดยตรง เช่นถ้าเราต้องการส่งข้อมูลที่เป็นสถานะลอจิก "0" ออกไปทางพอร์ต P1 ทั้ง 8 บิต ก็สามารถที่จะเขียนโดยใช้คำสั่ง MOV P1,#00H จะทำให้เอาต์พุตของวงจรแลตซ์เป็นสถานะลอจิก "0" ซึ่งจะส่งต่อไปให้กับวงจรกลับสัญญาณทำให้มีสถานะลอจิกเป็น "1" แล้วจึงส่งต่อไปขับเฟต(FET) ให้ทำงาน ส่งผลให้ตำแหน่งของพอร์ตที่กำหนดให้ทำงานจะเป็นสถานะลอจิก "0" ในทำนองเดียวกันถ้าหากเราต้องการจะส่งข้อมูลลอจิก "1" ออกไป ก็สามารถเขียนข้อมูล "1" ไปยังวงจรแลตซ์ วงจรขับก็จะหยุดการทำงานเป็นผลทำให้ที่ขาของพอร์ตเชื่อมต่อกับวงจรพูลอัปภายในเกิดเป็นสถานะลอจิก "1" ที่ขาพอร์ตนั้น ซึ่งจะคล้ายกับการกำหนดให้เป็นขาอินพุต เพียงแต่แตกต่างกันที่กระบวนการในการเคลื่อนย้ายข้อมูล โดยถ้าเป็นอินพุต จะมีสัญญาณมาอ่านข้อมูลที่บัฟเฟอร์ แต่ถ้าเป็นเอาต์พุตจะไม่มีการอ่านข้อมูลที่บัฟเฟอร์แต่อย่างใด เว้นแต่ในกรณีที่ต้องการตรวจสอบข้อมูลที่ส่งออกมาทางเอาต์พุตเท่านั้น
ไอซีไมโครคอนโทรลเลอร์เบอร์ AT89CX051 ที่ตำแหน่งพอร์ตสามารถเป็นทั้งอินพุตพอร์ตและเอาต์พุตพอร์ต และที่พอร์ตจะมี
Resister Pull up ไว้ภายในแล้ว ยกเว้นที่พอร์ต P1.0 และ P1.1 ต้องใช้ R Pull Up จากภายนอก การใช้งานเป็นพอร์ตเอาต์พุตในแต่ละบิต ของแต่ละพอร์ตมีความสามารถในการรับกระแสเข้าหรือที่เรียกว่า กระแสซิงค์ (Sink current) ได้สูงสุด 20mA และทุกขารวมกันในแต่ละพอร์ต ในกรณีที่ใช้งานพร้อมกัน จะสามารถรับกระแสเข้าได้รวมกันสูงสุดไม่เกิน 80 mA ดังนั้นในการใช้งานทุกขาเป็นพอร์ตเอาต์พุต เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความสามารถในการรับกระแสเข้าจึงควรต่อวงจรบัปเฟอร์ ทางเอาต์พุตเพื่อช่วยป้องกัน ไอซีเสียหายจากการรับกระเข้าเกินกำหนด แต่ในวงจรที่เราใช้ทดลองจะมีไอซี 74HCT245 ต่อไว้ให้แล้ว
ที่ตำแหน่งของบิตเมื่อให้เอาต์พุตมีสัญญาณออกเป็นลอจิก "0" จะรับกระแสเข้ามาเรียกว่า IOL (Sink Current)
ที่ตำแหน่งของบิตเมื่อให้เอาต์พุตมีสัญญาณออกเป็นลอจิก "1" จะมีกระแสจ่ายออกมาเรียกว่า IOH (Source Current)
Resister Pull up ไว้ภายในแล้ว ยกเว้นที่พอร์ต P1.0 และ P1.1 ต้องใช้ R Pull Up จากภายนอก การใช้งานเป็นพอร์ตเอาต์พุตในแต่ละบิต ของแต่ละพอร์ตมีความสามารถในการรับกระแสเข้าหรือที่เรียกว่า กระแสซิงค์ (Sink current) ได้สูงสุด 20mA และทุกขารวมกันในแต่ละพอร์ต ในกรณีที่ใช้งานพร้อมกัน จะสามารถรับกระแสเข้าได้รวมกันสูงสุดไม่เกิน 80 mA ดังนั้นในการใช้งานทุกขาเป็นพอร์ตเอาต์พุต เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับความสามารถในการรับกระแสเข้าจึงควรต่อวงจรบัปเฟอร์ ทางเอาต์พุตเพื่อช่วยป้องกัน ไอซีเสียหายจากการรับกระเข้าเกินกำหนด แต่ในวงจรที่เราใช้ทดลองจะมีไอซี 74HCT245 ต่อไว้ให้แล้ว
ที่ตำแหน่งของบิตเมื่อให้เอาต์พุตมีสัญญาณออกเป็นลอจิก "0" จะรับกระแสเข้ามาเรียกว่า IOL (Sink Current)
ที่ตำแหน่งของบิตเมื่อให้เอาต์พุตมีสัญญาณออกเป็นลอจิก "1" จะมีกระแสจ่ายออกมาเรียกว่า IOH (Source Current)
ที่มาของเนื้อหาและรูปภาพ http://adisak-diy.com/page28.html
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)